ข้อมูลทั่วไปของเทศบาล
- ข้อมูลพื้นฐาน
- วิสัยทัศน์
- อำนาจหน้าที่
- โครงสร้าง
โครงสร้างบุคลากร
- คณะผู้บริหาร
- สมาชิกสภา
- หัวหน้าส่วนราชการ
- สำนักปลัด
- กองช่าง
- กองคลัง
- กองการศึกษา
 
งานกิจการสภา
- การประกาศเรียกประชุมสภา
- การเรียกประชุมสภา
- การนัดประชุมสภา
- รายงานการประชุมสภา
 
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
- แผนการใช้จ่ายเงิน
- รายงานงบการเงิน
- รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ6เดือน
- รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
- รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีและรายงานการเงิน
 
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
- รายงานทางการเงิน/การจัดซื้อจัดจ้าง
- แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
- สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน
- รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
โครงการความโปร่งใสในการก่อสร้างภาครัฐ
(Infrastructure Transparency Initiative: CoST)
- รายงานเกี่ยวกับการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
 
เทศบัญญัติงบประมาณ
- เทศบัญญัติงบประมาณ
แผนพัฒนาท้องถิ่น
- แผนพัฒนาท้องถิ่น
- แผนการดำเนินงานประจำปี
- รายงานผลการดำเนินงาน
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- แผนอัตรากำลัง 3 ปี
- การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
- รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- การมอบหมายงาน/การมอบอำนาจ
- มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
- การจัดองค์ความรู้ในองค์กร
- คุณธรรมจริยธรรม
มาตรการป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
- แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
- แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนทุจริต
- การประเมินความเสี่ยงการทุจริต
- เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
- นโยบายไม่รับของขวัญ
- มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
- การสร้างวัฒนธรรมองค์กร
- ประมวลจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การให้บริการ
- คู่มือการปฏิบัติงาน อปท.
- คู่มือสำหรับประชาชน
- นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- ข้อมูลสถิติการให้บริการ
- รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจ
- แบบคำขอต่างๆ
- ศูนย์บริการร่วม ทต.เมืองยวมใต้
- ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ทต.เมืองยวมใต้
- ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ทต.เมืองยวมใต้
- การส่งเสริมด้านสาธารณสุข
- การส่งเสริมด้านกีฬา
- แจ้งเบาะแสป้ายโฆษณา

 
E-Service
- คู่มือการใช้งานระบบ E-Service

- แจ้งซ่อมไฟกิ่ง

- บริการรับลงทะเบียนการจัดเก็บขยะมูลฝอย
- งานบริการของศูนย์บริการ่วม/
ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็
(One Stop Service : OSS)
เทศบัญญัติ/กฎหมาย/ระเบียบ
- เทศบัญญัติ ทต.เมืองยวมใต
- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มอาชีพ

- รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มอาชีพ

 
ภูมิปัญญาท้องถิ่น

- ภูมิปัญญาท้องถิ่น

 
Facebook ทต.เมืองยวมใต้
 
E-mail ทต.เมืองยวมใต้
การร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
- รายงานผลการดำเนินการตามเรื่องร้องทุกข์ / ร้องเรียน
- รายงานข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบ
 
อำนาจหน้าที่ของเทศบาล
   
พระราชบัญญัติเทศบาล แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 14 พ.ศ.2562  
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13  
 
 

ภารกิจอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๑๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และตามกฎหมายอื่น ดังต่อไปนี้

อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2562 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลไว้ เป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย มาตรา 50 และมาตรา 51 และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ดังต่อไปนี้
อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2562 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลไว้ เป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย
มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้

  1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
  2. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ
    (2/1) รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
  3. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
  4. ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
  5. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
  6. จัดการ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ศาสนา และการฝึกอบรม ให้แก่ ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็ก
  7. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
  8. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
  9. หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล

การปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดยใช้วิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงานและการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้นและหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด
มาตรา 51 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลอาจจัดทำกิจการใดๆในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้

    • ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
    • ให้มีโรงฆ่าสัตว์
    • ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม
    • ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
    • บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
    • ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
    • ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    • ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
    • เทศพาณิชย์



    . ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ 
    (๑) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกทางน้ำ และทางระบายน้ำ (มาตรา ๑๖ (๒) มาตรา ๕๐ (๒)              
    (๒) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๔))
    (๓) การสาธารณูปการ (มาตรา ๑๖ (๕))
    (๔) การควบคุมอาคาร (มาตรา ๑๖ (๒๘))
    (๕) การผังเมือง (มาตรา ๑๖ (๒๕))
    (๖) ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา (มาตรา ๕๑ (๑))
    (๗) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (มาตรา ๕๑ (๗))
    (๘) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (มาตรา ๑๖ (๒๖))
    (๙) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (มาตรา ๑๖(๓) (มาตรา ๕๑ (๓))

    . ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 
    (๑) การจัดการศึกษา (มาตรา ๑๖ (๙) (มาตรา ๕๐ (๖) )
    (๒) การส่งเสริมกีฬา (มาตรา ๑๖ (๑๔))
    (๓) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (มาตรา ๑๖ (๑๙)(มาตรา ๕๐ (๔))
    (๔) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (มาตรา๑๖) 
    (๕) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฆาตปนสถาน (มาตรา๑๖(๒๐) (มาตรา๕๑ (๔))
    (๖) ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (มาตรา ๕๑ (๖))
    (๗) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๑))
    (๘) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (มาตรา ๑๖ (๒๒))

    . ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อยมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
    (๑) การักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (มาตรา ๕๐ (๑))
    (๒) การรักษาความปลอดภัย  ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสถานอื่น ๆ (มาตรา ๑๖ (๒๓))
    (๓) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (มาตรา๑๖ (๑๒))
    (๔) การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (มาตรา ๑๖ (๑๗))
    (๕) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (มาตรา ๑๖ (๓๐))
    (๖) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๑๖ (๒๙))

    . ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชกรรม และการท่องเที่ยว  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
    (๑) บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากิจของราษฎร (มาตรา ๕๑ (๕))
    (๒) การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ (มาตรา ๑๖ (๖))
    (๓) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (มาตรา ๑๖ (๗) มาตรา ๕๑ (๙))
    (๔) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (มาตรา ๑๖ (๘))
    (๕) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (มาตรา ๑๖ (๑))

    . ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
    (๑) การจัดการ การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มาตรา ๑๖ (๑๔))
    (๒) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา ๑๖ (๑๓))
    (๓) การดูแลที่สาธารณะ (มาตรา ๑๖ (๒๗))
    (๔) การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย (มาตรา ๑๖ (๑๘) มาตรา ๕๐ (๓))

    . ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
    (๑) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนะธรรมอันดีของท้องถิ่น (มาตรา ๑๖ (๑๑) มาตรา ๕๐ (๘))

    . ด้านการบริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
    (๑) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง (มาตรา ๕๐ (๕))
    (๒) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน(มาตรา ๑๖ (๑๕))
    (๓) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (มาตรา ๑๖ (๑๖))
    ภารกิจทั้ง ๗  ด้านตามที่กฎหมายกำหนดให้อำนาจเทศบาลดังกล่าวสามารถจะแก้ไขปัญหาของเทศบาลตำบลนกออก ได้โดยการจัดทำแผนพัฒนากำหนดแนวทางและวิธีการในการดำเนินงานแต่ละด้านให้เป็นไปตามความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาอำเภอฯ แผนพัฒนาจังหวัด นโยบายรัฐบาลและนโยบายของผู้บริหารเทศบาลเทศบาลตำบลนกออก วิเคราะห์แล้วพิจารณาเห็นว่าภารกิจหลักและภารกิจรองที่จะต้องดำเนินการ ได้แก่

    ภารกิจหลัก
      และภารกิจรองที่เทศบาลจะดำเนินการ
    ภารกิจหลัก
    ๑. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
    ๒. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
    ๓. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
    ๔. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ
    ๕. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    ๖. ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
    ๗. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
    ๘. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
    ๙. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
    ๑๐. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    ๑๑. หน้าที่อื่นตามกฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล

    ภารกิจรอง
    ๑. ให้มีโรงฆ่าสัตว์
    ๒. บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
    ๓. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    ๔. ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
    ๕. ให้มีสุสาน และฌาปนสถาน
    ๖. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
    ๗. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม
    ๘. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
    ๙. งานทะเบียนพาณิชย์